Neonatal Resuscitation 2016
Ref. AHA, Textbook of neonatal resuscitation. 7th ed, 2016.
O2Sat APGAR ET Tube Calculated
1. รับ Notify หมอสูติ 4 คำถาม
  1. GA เท่าใด (Term = GA 37 - 41 wk)
  2. น้ำคร่ำ ใส หรือไม่
    (Amnionitis / Meconium / Oligo-Poly hydramnios)
  3. ทารก กี่ คน
  4. Risk อะไรบ้าง MORE !!
2. เตรียมคน เตรียมของ
  1. กำหนด หัวหน้าทีม
  2. แจ้งปัญหา + กำหนดหน้าที่ ให้กับทีม
    • Heart
    • Lung
    • IV / IO
    • Chest compression
  3. เตรียมของ

    1. Radiant warmer : เปิด MAX temp (servo-controlled mode)
      • Keep Temp : 36.5 - 37.5 c

    2. ผ้าสะอาด 2 ผืน

    3. Suction : 80 - 100 mmHg

    4. Oxygen flow : 10 LPM

    5. เช็คไฟของ Laryngoscope + Blade :
      • No.0 : Pre-term
      • No.1 : Term

    6. ET tube (เอามา 3 อัน : ใหญ่ - พอดี - เล็ก)
    7. Weight (g) GA Size (mm ID)
      < 1,000 < 28 2.5
      1,000 - 2,000 28 - 34 3.0
      > 2,000 > 34 3.5

    8. Mask : ไม่กดตา ไม่เลยคาง

    9. Self-inflating bag 250 mL
      Test
      1. มืออุด Mask แล้วบีบ : ต้องมีแรงต้าน
      2. บีมแรงๆ : ทดสอบ Pressure release valve (บีบให้ pressure > 30 - 40 cmH2O)
      3. บีบแล้วปล่อย : ทดสอบ re-inflate

    10. T-piece resuscitator
      Test
      1. ประกอบ
      2. เปิด Oxygen flow : 10 L/min
      3. ตั้ง Maximum pressure-relief control : นิ้วอุดที่ cap + T-piece แล้วปรับ Maximum pressure
        • Term : 40 mmHg
        • Pre-term : 35 mmHg
      4. ตั้ง PIP (peak inspiratory pressure) : นิ้วอุดที่ cap แล้วปรับ PIP 20 - 25 cmH2O
      5. ตั้ง PEEP (peak inspiratory pressure) : หมุน T-piece ให้ได้ 5 cmH2O

    11. Epinephrine (1:10,000)

    12. Set Umbilical Artery/Vein Catheter

    13. Plastic wrap (GA < 32 wk)
3. ประเมินแรกคลอด Term Tone Crying

Good Term / Tone(งอแขนขา) / Cry

  1. อุ้มไปวางที่อกแม่ +ทำ skin-to-skin contact
  2. Delayed cord clamping for 30-60 sec.
  3. เช็ดตัว + ดูดเสมหะที่ ปาก -> จมูก
  4. Observe APGAR at 1 - 5 - 10 min
(1) Basic resuscitation

ย้ายไป Radiant warmer

  1. Sniffing position
  2. เช็ดตัว 1 รอบ → เปลี่ยนผ้า 1 ผืน
  3. ดูดเสมหะ(ปาก ก่อน จมูก) ด้วยลูกยาง หรือ suction
  4. Tactile stimulate : ลูบหลัง ดีดฝ่าเท้าทารก
  5. ประเมิน RR (40 - 60 /min) + HR at 1 min (>100)
(2) Airway and Breathing

Concept : ต้องได้ PPV + Chest move อย่างน้อย 30 sec เพื่อแก้ไข A กับ B ก่อน ถึงจะไปขั้นตอนถัดไป เนื่องจาก most common เกิดจาก lung pathology

CPAP 15 sec

ถ้า เพียงแค่ หายใจลำบาก / Cyanosis หรือ HR > 100
  • Airway ดี แต่ Ventilation อาจมีปัญหา
  • ใช้ Mask with self-inflating bag หรือ T-piece resuscitator ก็ได้
  • จัดท่า sniffing position + สังเกต Chest movement
  • PIP 20-25 cmH20, PEEP 5 cm.H20
  • Increase by 5-10 cmH20
  • Maximum pressure 40 cmH20
  • FiO2 = 0.21

PPV 15 sec

ถ้า Apnea / Gasping หรือ HR < 100 หรือ SpO2 ยังไม่ถึงเป้า
  • Airway และ Ventilation น่าจะมีปัญหา
  • ใช้ Mask with self-inflating bag หรือ T-piece resuscitator ก็ได้
  • PPV rate 40 - 60 /min (บีบ - สอง - สาม) → ดู Chest movement
  • ถ้ามี Oxygen blender
    • GA < 35 wk FiO2 21% - 30%
    • GA > 35 wk FiO2 21%
  • สังเกต Chest movement
  1. Monitor Preductal SpO2 (ติด Prob มือ/แขนขวา)
  2. Monitor ECG 3 leads
  3. ประเมิน Chest movement + (RR, HR ด้วยถ้าได้) at 15 sec

Chest Move แล้วหรือยัง ?

  • Move → PPV or CPAP ต่ออีก 15 sec (จนครบ 30 sec)
  • ไม่ Move → MRSOPA ! จนกว่าจะ PPV แล้ว Chest move อย่างน้อย 30 sec
  1. Mask adjustment : C-E technique , Re-apply
  2. Reposition : Neutral , Slightly extend

  3. PPV 5 breaths → Chest move → PPV ใหม่ จนครบ 30 sec

  4. Suction : ดูด ปาก จมูก
  5. Open mouth

  6. PPV 5 breaths → Chest move → PPV ใหม่ จนครบ 30 sec

  7. Pressure increase : เพิ่ม PIP ทีละ 5 - 10 mmH2O ( max 40 mmH2O )


    PPV 5 breaths → Chest move → PPV ใหม่ จนครบ 30 sec

  8. A lternative airway (ET tube / Laryngeal mask)

    Intubation (ภายใน 30 sec)

ขนาด tube

Weight (g) GA Size (mm ID)
< 1,000 < 28 2.5
1,000 - 2,000 28 - 34 3.0
> 2,000 > 34 3.5

ตำแหน่ง tube

วิธีที่ 1 : Nasal to tragus length (NTL) + 1 cm.
วิธีที่ 2 : เปิดตาราง

GA (wk) Depth
from lip (cm.)
Weight (g)
23 - 24 5.5 500 - 600
25 - 26 6.0 700 - 800
27 - 29 6.5 900 - 1,000
30 - 32 7.0 1,100 - 1,400
33 - 34 7.5 1,500 - 1,800
35 - 37 8.0 1,900 - 2,400
38 - 40 8.5 2,500 - 3,100
41 - 43 9.0 3,200 - 4,200
  1. Chest move (ต้อง move สิโว้ยยยยยย)
  2. ถ้าไม่ move หา life-threatening เช่น pneumothorax
  3. PPV ผ่าน tube 40-60 ครั้ง/min จนครบ 30 sec
  4. ประเมิน H R at 30 sec → ไป algorithm ถัดไปได้
(3) Circulation (Chest compression)
  • HR > 100 bpm → ผ่าน! → PPV ต่อ จนกว่าจะเริ่มหายใจได้เอง
  • HR 60 - 99 bpm → DOPE → PPV ต่อ จนกว่า HR > 100 bpm
  • HR < 60 bpm
    • → DOPE + FiO2 100% (ระยะเวลาแก้ไข 30 sec)
    • → Chest compression
  • lower half sternum, ลึก 1/3 AP diameter, นิ้วที่เหลือโอบรอบด้านหลหลังเพื่อ support spine
  • CPR 3:1 หนึ่ง - และ - สอง - และ - สาม - และ - บีบ - และ ...
  • PPV + CPR นาน 60 sec
ประเมิน ที่ 60 sec
  • HR ≥ 60 bpm → ผ่าน! → PPV ต่อ
  • จนกว่าจะเริ่มหายใจได้เอง + ลด FiO2 จนถึง Target Pre-ducatal SpO2 → F/U q 30 sec
  • ถ้า HR < 60 bpm
    • DOPE + หา Complication
    • Emergency vascular access
(4) Emergency vascular access
ให้เมื่อ ventilation with 100% oxygen (30s) and chest compression (60s) แล้ว
Smart Calculated UVC / UAC insertion
Umbilical Venous Catheter insertion
Size of umbilical catheter
  • BW ≤ 3.5 kg : 3.5 Fr.
  • BW > 3.5 kg: 5 Fr.
  • ตัด ห่างจากโคน 1-2 cm. (หยุด CPR ได้แปปหนึ่ง)
  • ใส่ UVC ลึก 2 - 4 cm. เพื่อที่จะ Flush NSS เข้าไปได้
    (จุดประสงค์ แค่ ต้องการ Resuscitation)

  • หากต้องการจะให้ IV จริงๆ ต้องคำนวณ
  • UVC = ( 3 * BW + 9) / 2 + 1
      ตำแหน่ง : เหนือกะบังลม ปลายต่อเกือบจะเข้า RA
  • UAC = ( 3 * BW + 9)
      ตำแหน่ง : Tip High line (T6 - T9) ; Low line (L3 - L4)
1st Epinephrine (UVC) 0.1 - 0.3 mL/Kg 1st Epinephrine (ET tube) 0.5 - 1 mL/Kg
Dose UVC (1:10,000) 0.1 - 0.3 mL/Kg
+ NSS 0.5 - 1 mL flush q 3 - 5 min
Dose ET tube (1:10,000) 0.5 - 1 mL/Kg
Onset 3 - 5 mins
2nd Volume Expander (UVC) 10 mL/Kg
(if fail Epinephrine)
0.9% Normal Saline 10 mL/Kg UVC in 5 - 10 min
ให้ซ้ำได้หากมี hypovolemic shock
PRC gr.O Rh negative or cross-matched with maternal blood 10 mL/Kg UVC in 5 - 10 min
ให้ซ้ำได้หากมี hypovolemic shock
ROSC care
  1. Temperature control : 36.5 - 37.5 องศาเซลเซียส
  2. การติดตามสัญญาณชีพ (Vital signs monitoring)
  3. การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม
    • Complete blood count (CBC)
    • Blood glucose
    • Electrolytes
    • Blood gases
    • CXR
  4. NPO
  5. empirical antibiotics
  6. blood culture
ROSC complication
  1. ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia)
  2. ภาวะความดันเลือดในปอดสูง (pulmonary hypertension)
  3. ภาวะหายใจลำบากจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น pneumonia, amniotic fluid aspiration, meconium aspiration syndrome, pneumothorax เป็นต้น
  4. ภาวะเลือดเป็นกรด (metabolic acidosis)
  5. ความดันโลหิตต่ำ (hypotension)
  6. ภาวะชักหรือหยุดหายใจ
  7. ภาวะอุณหภูมิกายผิดปกติ ซึ่งเป็นได้ทั้งอุณหภูมิกายต่ำ (hypothermia) หรือ อุณหภูมิกายสูง (hyperthermia)